วันอาทิตย์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2554

Food Safety Management System (FSMS): Blog 5

Blog 5
บริษัท เค เอส เนชั่น คอนซัลแตนท์ จำกัด
KS NATION CONSULTANT CO.,LTD.
เลขที่ 823/28  ถนนพรหมาสตร์  ตำบลบางปลาสร้อย  อำเภอเมือง  จังหวัดชลบุรี  20000
ติดต่อ K.NAT K.Sun Mobile: 081 3029339, 081 6493828, 083 2431855
E-Mail:  ksnationconsultant@hotmail.com, isoiatf@hotmail.com   
Line ID: iatf16949
ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME 
รักษาระบบ ISO แทนตำแหน่งที่รอสรรหา
"นึกถึงไอโซ่ เซฟตี้ โทรหา" 
081 3029339 ติดต่อ QMR & เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ

ณ วันนี้ ระบบบริหารคุณภาพ ค่อนข้างจะนิ่ง ไม่เปลี่ยนแปลง
ISO9001:2015 ยังน่าจะใช้รับรองอีกสักระยะ ไม่ปรับเวอร์ชั้น
แต่ด้านความปลอดภัยกับด้านแรงงาน น่าจะมีความเข้มงวดขึ้น
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 PDPA: Personal Data Protection Act

วันที่ 10 มิถุนายน 2565 จะมีผลบังคับใช้ โรงงานที่มีพนักงาน
ตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป ต้องมีจัดทำมาตรฐานระบบการจัดการ
อาชีวอนามัย ความปลอดภัย....
ดังนั้นโรงงานที่ได้รับรอง ISO45001:2018 ถือว่า มีครบถ้วนแล้ว

โรงงานที่ต้องมี บุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย: บฉ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ.2551      มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2554 ช่วงนี้คนเข้าทดสอบมาก
โรงงานที่เข้าข่ายนี้ เข้าใจง่ายๆ คือ
1 มีวัตถุอันตราย 1,000,000 กิโลกรัมต่อปี ทั้งผลิต นำเข้า ส่งออก
2 พื้นที่จัดเก็บวัตถุอันตรายตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป
3 เข้าข่ายวัตถุไวไฟ สารออกซิไดซ์ และสารเปอร์ออกไซด์
แต่ถ้ามีใช้สารเคมีอันตรายตั้งแต่ 1,000 กิโลกรัมต่อปี
ต้องรายงานกรมโรงงานอุตสาหกรรมทุกสิ้นเดือนมีนาคมของทุกปี
เพิ่มจากที่ส่งรายงาน สอ.1  วัตถุอันตรายให้กระทรวงแรงงาน
ทุกสิ้นเดือนมกราคมของทุกปี

โรงงานที่ตั้งในนิคมอุตสาหกรรม ที่ใช้ก๊าซไวไฟหรือของเหลวไวไฟ
ที่มีปริมาณครอบครองตั้งแต่ 4,545 กิโลกรัม ต้องทำ 
PSMProcess Safety Management 
เพื่อความปลอดภัยจากไฟไหม้และเกิดการระเบิด
ถ้าทำระบบ ISO จะเข้าใจ มีทำ Internal Audit, Management Review
รวมถึงให้ External Auditor มาตรวจ ณ โรงงาน

In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019. 
หลักสูตรบรรยายหนึ่งวันเต็ม บรรยาย DFMEA, FMEA-MSR และ PFMEA 
     สำหรับโรงงานที่มี Design พนักงานเข้าใหม่ วิศวกรใหม่ หรือผู้สนใจ
การประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019. 
    New FMEA By AIAG & VDA
AP แทนที่ RPN ติดตามที่ Blog 60 Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/

สำหรับ ISO45001:2018 แตกต่างกับ OHSAS18001:2007 
มาตรฐานใหม่ฉบับนี้ประกาศใช้แล้วเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2018
แต่ OHSAS18001:2007 ยังให้การรับรองได้จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2021 จะมีแต่ ISO45001:2018 เข้ามาแทนที่ สามารถคลิ๊กไปอ่านที่ link   http://safetysolving.blogspot.com/

คุณภาพเป็นเลิศ  ราคาพอเพียง  ลูกค้าพึงพอใจ
823/28 ถนนพรหมาสตร์ อำเภอเมือง ชลบุรี    
081 3029339, 081 6493828, 083 2431855 
โทรสาร 02 7441859
Line ID: iatf16949
ksnationconsultant@hotmail.com 
isoiatf@hotmail.com
หรือที่ isobible@gmail.com
ออกใบ Certificate ให้ผู้เข้าอบรมจริงทุกท่าน ค่าฝึกอบรมสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้
วันที่อบรมสามารถอบรมแยกจากกันคนละเดือนหรือตามความสะดวก
มีทั้งแบบเร่งด่วนหรือโครงการปกติ
"as your require"
บทความ ISO9001&IATF16949/TQM/Six Sigma สามารถคลิ๊ค
บทความ GHP/HACCP/FSMS  link:  http://qualitysolving.blogspot.com/
บทความ EMS/OH&SMS /SA8000  link: http://safetysolving.blogspot.com/
Check List ISO ทุกระบบ link:  http://Mcqmrtraining-Mcqmr.blogspot.com/
สำหรับโรงงานที่ต้องการควบคุมและกำจัดสัตว์รบกวนและสัตว์พาหะ ทั้งแมลง ปลวก นก หนูต่างๆ
สามารถติดต่องาน Pest Control โดย Click:   http://www.nanoherb.com
กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com ฟรี 

อบรมภายในราคาพิเศษ:
หลักสูตร Logical Thinking คิดแบบมีตรรกะ อบรมหนึ่งวัน 
ISO9001:2015 New Version และ IATF16949:2016 
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO9001:2015 New version    
หลักสูตร Risk Management of ISO9001:2015
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO9001:2015
EMS ISO14001:2015 New Version
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO14001:2015 New Version    
หลักสูตร Risk Management of ISO14001:2015 
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO14001:2015
OH&S ISO45001:2018
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO45001:2018 New Standard    
หลักสูตร Risk Management of ISO45001:2018
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO45001:2018



ถนนเยาวราชเต็มไปด้วย 132 ร้านทองและร้านอาหารมากมาย: China Town, Thailand 

วันนี้ผู้เขียนขอกล่าวถึงคำว่า FSMA หรือ The Food Safety Modernization Act ซึ่งบรรยาย/สัมมนาโดย Dr. James Marsden จาก Kansas State University ที่โรงแรมเมอร์เคียว รัชดาภิเษก กรุงเทพฯจัดโดย NSTDA


เนื้อหา FSMA หรือ กฎหมายของความปลอดภัยด้านอาหาร แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2012 กล่าวถึงประเด็นต่างๆ เช่น 
หัวข้อ ความรับผิดชอบทางกฎหมายในความปลอดภัยด้านอาหาร ระบุไว้ว่า
1 เมื่อเกิดการเจือปน เกี่ยวกับสารอันตราย หรือขาดวิธีการควบคุมที่เหมาะสม จะต้องเขียนแผน และมีการตรวจสอบ
2 การลงข้อมูลไม่ครบถ้วน
3 พบเหตุการณ์ระบาดตั้งแต่สองคนขึ้นไป จะมีการบังคับให้ตรวจสอบ

ประเด็นและเนื้อหาอื่นๆจะเขียนต่อในภายหลัง การสัมมนาครั้งนี้ ทำให้ผู้เขียนคิดถึง PL Law (Product Liability Law) ที่ไทยเรามีผลบังคับใช้แล้ว ยังเน้นไปที่อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า หากผู้ผลิตออกแบบไม่ดี ไม่ระบุข้อความเตือนอย่างชัดเจน ไม่มีคู่มือการใช้งานที่ถูกวิธี หรือคู่มือการใช้งานระบุไว้ไม่ครบ การผลิตและการตรวจสอบบกพร่องทำให้สินค้าไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคหลุดรอดออกมา จะต้องรับผิดชอบ เพียงแต่ลูกค้าร้องเรียนไปที่ผู้รับเรื่อง หรือ สคบ.(สำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค) จากนั้นผู้ผลิตหรือผู้ขาย ต้องไปแก้ต่าง(เมื่อก่อนที่ไม่มี พรบ. นี้ ลูกค้าต้องไปฟ้องศาลเอง เสียเงิน เสียเวลาและต้องจ้างทนายความเอง) หากโรงงานหรือผู้ผลิตหรือผู้จัดจำหน่ายพิสูจน์ไม่ได้ ต้องรับผิดชอบและชดใช้ ชดเชยในความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อลูกค้าหรือผู้บริโภค คิดว่า PL Law ในอุตสาหกรรมอาหารบ้านเรา มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคต รับประทานอาหาร รับประทานขนมปัง จากความบกพร่องของผู้ผลิตหรือผู้จัดจำหน่าย นอนโรงพยาบาลเอกชนหลายคืนและหยุดงานไปหลายวัน หมดไปหลายหมื่นเป็นค่ารักษา น่าจะได้รับความผิดชอบและค่าชดเชย ปัจจุบันลูกค้ารู้จักเลือกสินค้า หากผลิตไม่ดี ยี่ห้อหรือแบรนด์เนมนั้นจะถูกลูกค้าทำลายหรือทำให้ล่มสลายได้ ในยุคที่การสื่อสารกว้างไกลและพัฒนารูปแบบค่อนข้างมาก

ผู้เขียนมั่นใจว่าโรงงานผลิตอาหารจากไทยเรามีศักยภาพสูง ปัจจุบันทุกโรงงานต้องทำมาตรฐาน GHP
ตามที่กฎหมายบังคับ มีโรงงานจำนวนมากที่ทำระบบคุณภาพ หรือ HACCP คิดว่าจะมีหรือไม่มี PL Law ผู้ผลิตย่อมมีความตั้งใจทำสินค้าประเภทอาหารที่ปลอดภัย ที่ห่วงคือโรงงานประเภท SME ควรนำ หลักการของ HACCP มาใช้ กำหนดจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม (CCPs) โดยเริ่มจากการวิเคราะห์อันตราย (Hazard Analysis) ควบคุมจุด CCPs อย่างเข้มงวด ทั้งโรงงานต้องมีการตรวจสอบ เฝ้าระวังว่าทำตามโปรแกรมพื้นฐาน (Prerequisite Program) ปฎิบัติตาม SOP และ SSOP อย่างต่อเนื่องเพื่อให้สินค้ามีความปลอดภัยมากที่สุด ลดการปนเปื้อน ก็ไม่ต้องไปกังวลว่าจะมีหรือไม่มี PL Law แต่ผลกระทบยังมีกับหลายกลุ่มที่ส่งสินค้าไปที่สหรัฐอเมริกา เพราะว่ามี FSMA จึงต้องศึกษาและเอาใจใสมากขึ้น เพื่อไม่ให้ถูกปฎิเสธสินค้า ส่งคืนหรือต้องเรียกคืน และรับผิดชอบค่าเสียหายที่อาจมีจำนวนเงินมากมาย

ผู้เขียนจะนำข้อบกพร่องหรือออก NC หรือสิ่งที่โรงงานปฎิบัติไม่สอดคล้องมาลงให้ศึกษา โดยนำของ GHP และ PRPs มาเขียน จากนั้นจะต่อในส่วน FSMS ว่าผู้ตรวจประเมิน หรือ Auditor มองมุมใด เราต้องไปปฎิบัติอย่างไรให้สอดคล้องกับข้อกำหนด

#  พบรังนกในชายคาโรงงาน และในซอกมุมอาคารภายในคลังสินค้าที่จัดเก็บผลิตภัณฑ์อาหาร
#  พบสัตว์พาหะเข้ามาในพื้นที่ผลิต ไม่มีวิธีการควบคุมที่ชัดเจนว่าต้องดำเนินการอย่างไร
#  ประตูอาคารผลิตเปิดออก และไม่ปิด ทำให้สัตว์พาหะเข้ามาในอาคารโรงงาน
#  ผลการตวจสุขภาพพนักงาน และแพทย์วินิจฉัยมีปัญหาสุขภาพปอด ยังปล่อยให้พนักงานทำงานตามปกติ โดยไม่มีการป้องกัน หรือนำไปรักษาเพื่อให้เกิดการปนเปื้อนจากการป่วยของตัวพนักงาน
#  ร่องน้ำ และฝาท่อระบายน้ำทรุดตัวและแตกออกเป็นร่อง เป็นที่อยู่ของสัตว์พาหะ
#  ท่อระบายน้ำทิ้งที่ต่อออกนอกอาคารไม่มีตะแกรงกั้นสัตว์พาหะจากภายนอกเข้า
#  ท่อระบายน้ำทิ้งที่ต่อออกนอกอาคาร บางจุดมีตะแกรงกั้นสัตว์พาหะจากภายนอก แต่ขนาดรูตะแกรงใหญ่เกินไป ไม่อาจป้องกันได้จริง
#  พบสัตว์เลี้ยง เช่นกรงนกหัวจุก และนกเขา ข้างอาคารโรงอาหาร
#  ไม่มีการทบทวน HACCP Plan เมื่อมีการเปลี่ยนขั้นตอนการควบคุมกระบวนการผลิต
#  พบแก้วแตกพนักงานไม่ทราบว่าต้องทำอย่างไร
#  ฟิล์มรองพื้นที่รองรับผลิตภัณฑ์อาหารมีคราบสกปกจากรอยหรือคราบสกปก
# กระดาษที่ใฃ้รองพื้นที่รองรับผลิตภัณฑ์อาหารมีคราบสกปกจากรอยนิ้วมือและรอยเท้า
#  มีดและอุปกรณ์ปลายแหลมและมีคมที่ใช้ในงานไม่มีการควบคุม หากเกิดปลายหักและปลายบิ่นมีโอกาสปะปนเข้าไปในผลิตภัณฑ์อาหาร (ไม่มี Matal Detector ผู้เขียนมองว่ามีความเสี่ยงสูง)
#  สินค้าผลิตภัณฑ์อาหารที่รอขนส่ง ไม่มีการปิดพลาสติคใสตามที่กำหนดไว้
#  สินค้าที่ลดราคา เพื่อนำไปจำหน่ายราคาถูกลง ไม่มีการดูแล ไม่มีการปิดพลาสติคใสตามวิธีการที่ต้องปฎิบัติกับผลิตภัณฑ์อาหารที่รอขนส่ง
#  ไม่มีการควบคุมการใช้มีดคัทเตอร์ พนักงานหลายคนมีใช้งานส่วนตัวโดยไม่มีการควบคุม
#  ภายในพื้นที่ทำงาน ห้องทำงานของหัวหน้าในอาคารผลิตมีขนม และอาหารห่อจากภายนอก รวมทั้งลูกอมและหมากฝรั่ง
#  พนักงานนำขนมปังและกาแฟไปรับประทานที่ห้องผู้จัดการ ภายในอาคารโรงงาน มีโอกาสให้สัตว์พาหะเข้ามากินเศษอาหารและขนม (ผู้จัดการไปพบลูกค้า)
#  พนักงานใช้ไม้ตีแมลงวัน 
#  มีของใช้กระจุกกระจิกบนโต้ะทำงานติดกับโต๊ะผลิตอากหาร และพบทั้งลูกแมก และปากกามีปลอก โอกาสที่จะปะปนเข้าสู่ผลิตภัณฑ์ได้มาก
#  วางวัตถุดิบที่รอผสมเข้าไปในกระบวนการผลิตบนพื้น
# มีการวางเครื่องเทศ เครื่องปรุงและส่วนผสมอาหารบนพื้น
#  พนักงานทำงานโดยไม่ปิดปากตามกฎระเบียบ
# พนักงานใส่ถุงมือข้างเดียว ไม่เป็นไปตามกฎระเบียบต้องใส่ทั้งสองข้าง ห้ามสัมผัสกับอาหารโดยตรง
พนักงานใส่ถุงมือยางทั้งสองข้าง แต่ตัดปลายนิ้วมือออก
#  พื้นฝ้าพบหยากไย่
#  พื้นเพดานพบราดำเป็นแถบกว้าง สภาพห้องมีความชื้นสูงก่อให้เกิดรา
#  พนักงานก้าวเท้าข้ามกะบะน้ำคลอรีน โดยไม่ย่ำเท้าเพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อนเข้าอาหารผลิต
#  ความเข้มข้นของน้ำคลอรีนต่ำกว่า 50 ppm (ควรมากกว่า 200 ppm หรือมากกว่าหนึ่งร้ิอยขึ้น) ไม่มีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อ
# ไม่มีการสุ่มวัดค่าความเข้มข้นของน้ำคลอรีนในกะบะย่ำเท้า
#  ไม่มีการสุ่มวัดค่าคุณภาพน้ำประปาว่ายังมีคุณภาพดีพอหรือไม่ในหลายๆจุดทำงาน
#  ตุ้ล๊อคเกอร์ไม่เพียงพอ มีการวางสิ่งของนอกตู้มากมาย เสื้อผ้าแขวนรกรุงรัง
# ภายในตู้ล๊อคเกอร์พบทั้งขนม มาม่า ร้องเท้า ของใช้ส่วนตัว จาน ชามและช้อน เข็มขัด
#  สภาพโรงอาหารไม่สะอาด ไม่มีการทำความสะอาดในความถี่และวิธีการที่เหมาะสม
#  พบสารเคมีหมดอายุในห้องทดสอบ
# พบสารเคมีไม่มีการชี้บ่งว่าคือสารอะไร
# สารผสมทีใส่ขวดหมดอายุ แต่นำมาวางรวมกับขวดที่ยังใช้ได้ (ไม่หมดอายุ)
#  สารที่หมดอายุ วางไว้ต่างหากแต่ไม่มีการระบุและชี้บ่งใดๆ
#  สติีกเกอร์ที่ติดกับผลิตภัณฑ์มีการพิมพืออกมามากกว่าจำนวนสินค้า และใช้ไม่หมด นำมากองรวมกับล๊อทผลิตถัดไป 
#  บางส่วนของสติี๊กเกรอร์ที่ระบุวันหมดอายุของสินค้า วางไว้หลายแห่ง วางบนพื้นหรือทางเท้าก็มี ขาดการควบคุม

วันก่อนทีมงานท่านหนึ่งคือ คุณ สุขุม รับประทานหอย ที่บรรจุเป็นแพคเกจ จากห้างใหญ่ห้างหนึ่ง มองดูน่าจะเชื่อถือระบบได้ ปรากฎว่า หลังรับประทานไปแล้ว ท้องเสียอย่างมาก เข้าโรงพยาบาล คุณหมอ ตรวจพบเชื้อบิด ก็ขอให้ทุกท่านระมัดระวัง หากพนักงานห้างไม่มีจิตสำนึก มีการกระทำที่ไม่ปลอดภัยด้าน Food Safety ประชาชนย่อมเสี่ยงมากๆ ในบรรดาอาหารทะเล ผู้เขียนเป็นคนหนึ่งที่ไม่รับประทานหอย เพราะโอกาสพบเชื้อโรคสูงมาก เพื่อนผู้เขียนท่านหนึ่งทำงานที่ สมอ. ไม่ยอมรับประทานอาหารญี่ปุ่น ยิ่งประเภทปลาดิบ อร่อยไม่ว่า ถ้าเจอเชื้อโรคทางอาหาร คิดว่าไม่คุ้มค่ากับความอร่อย ถึงเวลาแล้วที่ต้องเน้น GHP ด้าน Food Safety อย่างจริงจังกับห้างสรรพสินค้า ร้านอาหาร และภุตราคาร

เขียนต่อคราวหน้า....................................................................................................................

การอบรมภายในตระหนักถึงความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคล 

ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

จึงขอแจ้งให้ทราบว่าจะมีนโยบายความเป็นส่วนตัวแจ้งให้ทราบทุกครั้ง

ที่ติดต่อเรื่องการอบรมภายในเพื่อแจ้ง KS Privacy Policy 

กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com