Blog13: PRP
Check List ISO ทุกระบบ link: http://Mcqmrtraining-Mcqmr.blogspot.com/
บริษัท เค เอส เนชั่น คอนซัลแตนท์ จำกัด
KS NATION CONSULTANT CO.,LTD.
เลขที่ 823/28 ถนนพรหมาสตร์ ตำบลบางปลาสร้อย อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000
ติดต่อ K.NAT K.Sun Mobile: 081 3029339, 0886560247, 083 2431855
E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com, isoiatf@hotmail.com
Line ID: iatf16949
E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com, isoiatf@hotmail.com
Line ID: iatf16949
ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME
รักษาระบบ ISO แทนตำแหน่งที่รอสรรหา
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME
รักษาระบบ ISO แทนตำแหน่งที่รอสรรหา
"นึกถึงไอโซ่ โทรหา KS" 081 3029339, 088 6560247
ณ วันนี้ ระบบบริหารคุณภาพ ค่อนข้างจะนิ่ง ไม่เปลี่ยนแปลง
ISO9001:2015 ยังน่าจะใช้รับรองอีกสักระยะ ไม่ปรับเวอร์ชั้น
แต่ด้านความปลอดภัยกับด้านแรงงาน น่าจะมีความเข้มงวดขึ้น
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 PDPA: Personal Data Protection Act
วันที่ 10 มิถุนายน 2565 จะมีผลบังคับใช้ โรงงานที่มีพนักงาน
ตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป ต้องมีจัดทำมาตรฐานระบบการจัดการ
อาชีวอนามัย ความปลอดภัย....
ดังนั้นโรงงานที่ได้รับรอง ISO45001:2018 ถือว่า มีครบถ้วนแล้ว
โรงงานที่ต้องมี บุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย: บฉ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ.2551 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2554 ช่วงนี้คนเข้าทดสอบมาก
โรงงานที่เข้าข่ายนี้ เข้าใจง่ายๆ คือ
1 มีวัตถุอันตราย 1,000,000 กิโลกรัมต่อปี ทั้งผลิต นำเข้า ส่งออก
2 พื้นที่จัดเก็บวัตถุอันตรายตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป
3 เข้าข่ายวัตถุไวไฟ สารออกซิไดซ์ และสารเปอร์ออกไซด์
แต่ถ้ามีใช้สารเคมีอันตรายตั้งแต่ 1,000 กิโลกรัมต่อปี
ต้องรายงานกรมโรงงานอุตสาหกรรมทุกสิ้นเดือนมีนาคมของทุกปี
เพิ่มจากที่ส่งรายงาน สอ.1 วัตถุอันตรายให้กระทรวงแรงงาน
ทุกสิ้นเดือนมกราคมของทุกปี
โรงงานที่ตั้งในนิคมอุตสาหกรรม ที่ใช้ก๊าซไวไฟหรือของเหลวไวไฟ ที่มีปริมาณครอบครองตั้งแต่ 4,545 กิโลกรัม ต้องทำ
PSM: Process Safety Management
เพื่อความปลอดภัยจากไฟไหม้และเกิดการระเบิด
ถ้าทำระบบ ISO จะเข้าใจ มีทำ Internal Audit, Management Review รวมถึงให้ External Auditor มาตรวจ ณ โรงงาน
In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
หลักสูตรบรรยายหนึ่งวันเต็ม บรรยาย DFMEA, FMEA-MSR และ PFMEA
สำหรับโรงงานที่มี Design พนักงานเข้าใหม่ วิศวกรใหม่ หรือผู้สนใจ
การประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019.
การประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019.
New FMEA By AIAG & VDA
AP แทนที่ RPN ติดตามที่ Blog 60 Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/
สำหรับ ISO45001:2018 แตกต่างกับ OHSAS18001:2007
มาตรฐานใหม่ฉบับนี้ประกาศใช้แล้วเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2018
แต่ OHSAS18001:2007 ยังให้การรับรองได้จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2021 จะมีแต่ ISO45001:2018 เข้ามาแทนที่ สามารถคลิ๊กไปอ่านที่ link http://safetysolving.blogspot.com/
คุณภาพเป็นเลิศ ราคาพอเพียง ลูกค้าพึงพอใจ
823/28 ถนนพรหมาสตร์ อำเภอเมือง ชลบุรี
081 3029339, 083 2431855
โทรสาร 02 7441859
Line ID: iatf16949
Line ID: iatf16949
ksnationconsultant@hotmail.com
isoiatf@hotmail.com
isoiatf@hotmail.com
หรือที่ isobible@gmail.com
ออกใบ Certificate ให้ผู้เข้าอบรมจริงทุกท่าน ค่าฝึกอบรมสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้
วันที่อบรมสามารถอบรมแยกจากกันคนละเดือนหรือตามความสะดวก
มีทั้งแบบเร่งด่วนหรือโครงการปกติ
"as your require"
บทความ ISO9001&IATF16949/TQM/Six Sigma สามารถคลิ๊ค
บทความ GMP/HACCP/FSMS link: http://qualitysolving.blogspot.com/
บทความ EMS/OH&S /SA8000 link: http://safetysolving.blogspot.com/
สำหรับโรงงานที่ต้องการควบคุมและกำจัดสัตว์รบกวนและสัตว์พาหะ ทั้งแมลง ปลวก นก หนูต่างๆ
กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com ฟรี
อบรมภายในราคาพิเศษ:
หลักสูตร Logical Thinking คิดแบบมีตรรกะ อบรมหนึ่งวัน
ISO9001:2015 New Version และ IATF16949:2016
หลักสูตร Logical Thinking คิดแบบมีตรรกะ อบรมหนึ่งวัน
ISO9001:2015 New Version และ IATF16949:2016
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO9001:2015 New version
หลักสูตร Risk Management of ISO9001:2015
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO9001:2015
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO9001:2015
EMS ISO14001:2015 New Version
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO14001:2015 New Version
หลักสูตร Risk Management of ISO14001:2015
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO14001:2015
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO14001:2015
OH&S ISO45001:2018
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO45001:2018 New Standard
หลักสูตร Risk Management of ISO45001:2018
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO45001:2018
ตัวอย่างโปรแกรมพื้นฐานเกี่ยวกับ GHP
พระองค์เสด็จสู่สวรรคาลัย Long Live The King: King of Thailand ภาพของอาจารย์กวง ธุรีไท |
ถ่ายที่สวนหลวง ร.9 กรุงเทพฯ |
สวัสดีทุกท่าน
ยามว่างผู้เขียน ประสงค์จะใช้เวลาว่าง มาเขียนบทความเล่าสู่กันฟัง ครั้งนี้เป็นเวบบล๊อคที่สิบสาม
(Web Blog ; http://qualitysolving.blogspot.com/) เป็นเรื่องเกี่ยวกับ GHP, IFS, BRC, HACCP, ISO22000, FSSC22000, ISO/TS 22002-1
โดยจะยกตัวอย่างเกี่ยวกับโปรแกรมพื้นฐาน หรือที่มักเรียกว่า PRP : Pre-Requisite Program ซึ่งจะมีกี่ฉบับ หรือกี่โปรแกรมขึ้นกับการประยุกต์และจัดทำระบบของโรงงานนั้นๆ ส่วนตัวอย่างระเบียบปฏิบัติ หรือ Procedure จะยกตัวอย่างใน ISO 9001 เพราะสามารถใช้เป็นระเบียบปฏิบัติที่ใช้ร่วมกันในหลายๆระบบการจัดการ ดูที่ Blog 19 ของ http://quality1996-quality1996.blogspot.com/
โดยระเบียบปฏิบัติเรื่องการควบคุมสารเคมี สามารถนำไปใช้เป็น Procedure ในระบบของ ISO14001/ OHSMS45001ได้ด้วยเช่นกัน
แต่วันนี้จะยกตัวอย่างเรื่อง "การควบคุมสารเคมี (Chemical Control) ในการทำมาตรฐาน GHP โรงงานมีการจัดทำ PRPs หลายฉบับ ฉบับที่ยกตัวอย่างนี้ เรียกว่า
โปรแกรมพื้นฐานเกี่ยวกับการควบคุมสารเคมี เนื้อหาหลักๆ เช่น
1วัตถุประสงค์ (Purpose)
โดยระเบียบปฏิบัติเรื่องการควบคุมสารเคมี สามารถนำไปใช้เป็น Procedure ในระบบของ ISO14001/ OHSMS45001ได้ด้วยเช่นกัน
แต่วันนี้จะยกตัวอย่างเรื่อง "การควบคุมสารเคมี (Chemical Control) ในการทำมาตรฐาน GHP โรงงานมีการจัดทำ PRPs หลายฉบับ ฉบับที่ยกตัวอย่างนี้ เรียกว่า
โปรแกรมพื้นฐานเกี่ยวกับการควบคุมสารเคมี เนื้อหาหลักๆ เช่น
1วัตถุประสงค์ (Purpose)
เพื่อกำหนดวิธีการใช้งานและควบคุมสารเคมีอย่างถูกวิธีการและปลอดภัย
2 ขอบข่าย (Scope)
2 ขอบข่าย (Scope)
ครอบคลุมการใช้สารเคมีทุกประเภท ที่ผู้ใช้จากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดนี้
3 นิยาม (Definition)
MSDS หมายถึง Material Safety Data Sheet
4 เอกสารอ้างอิง (Refer document)
5. ระเบียบปฏิบัติ
5.1 การสั่งซื้อสารเคมีเข้ามา
5.1.1 แผนก......(ที่ขอซื้อ/ขอใช้). ที่ต้องการใช้สารเคมี ทำเรื่องขอซื้้อ สาร
เคมี
5.1.2 แผนกจัดซื้อ รวบรวมรายการสารเคมีทั้งใหม่และเก่าที่ได้รับการอนุมัติและติดต่อกับผู้ขาย
(Suppliers) ที่อยู่ใน ASL
5.1.3 จากนั้นแจ้งให้ Supplier จัดหาเอกสาร MSDS ตามรายการสารเคมีที่สั่งซื้อ
5.1.4 แผนกจัดซื้อ จัดส่งเอกสารรายการสารเคมีพร้อมเอกสาร
MSDS ให้แผนก…(ที่ขอซื้อ/ขอใช้).... เพื่อจัดทำ คู่มือการใช้สารเคมีให้ถูกวิธี
5.2 การจัดเก็บ การดูแลและรักษาสารเคมี
5.2.1 แผนกจัดซื้อ / หน่วยงานรับสินค้า และแผนกที่เกี่ยวข้องตรวจสอบสภาพภาชนะบรรจุให้อยู่ในสภาพที่พร้อม
และปิดมิดชิดก่อนรับเข้าคลังสินค้า
5.2.2 บริเวณหรือ พื้นที่จัดเก็บสารเคมีต้องมีอากาศถ่ายเทสะดวกและมีอุณหภูมิที่เหมาะสม
และตรวจสภาพภาชนะบรรจุสารเคมีอย่างสม่ำเสมอ โดยต้องปฏิบัติดังนี้
1 ภาชะที่ใส่สารเคมีจะต้องอยู่ในสภาพที่ดี
ไม่แตก หกและรั่วซึม
2 มีการชี้บ่งแสดงกำกับชื่อสารเคมีที่ภาชนะอย่างชัดเจน
3มีการปิดฝาสนิทุกครั้งหลังการใช้งาน
4 มีเอกสาร MSDS อยู่บริเวณหน้างาน
และสะดวกต่อการใช้งานหรือเกิดเหตุสัมผัสผิวหนัง สายตา
5.2.3 พื้นที่และสถานที่จัดเก็บสารเคมี มีการจัดเก็บสารเคมีอย่างปลอดภัยหรือตรงกับการแนะนำที่กำหนดไว้
มีป้ายแสดงว่าสารเคมีอันตราย ไวไฟ หรือ เป็นพิษ เป็นต้น
5.2.4 หัวหน้างานหรือเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ดำเนินการประเมินผลการจัดเก็บสารเคมี เดือนละ 1 ครั้ง ในแบบฟอร์มบันทึกการตรวจสภาพการจัดเก็บและรักษาสารเคมี
5.3 การเคลื่อนย้ายสารเคมี
5.3.1 วิธีการเคลื่อนย้ายสารเคมี ให้กำหนดผู้รับผิดชอบของแต่ละแผนกที่มีการใช้สารเคมี
และให้ปฏิบัติตามคู่มือการใช้สารเคมี
หรือ MSDS
5.3.2 การเคลื่อนย้ายสารเคมีต้องทำการเคลื่อนย้ายอย่างระมัดระวังด้วยอุปกรณ์ที่เหมาะสม
และใช้ภาชนะที่แข็งแรง เหมาะสม ปลอดภัย และอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน
เพื่อป้องกันการเสียหายของภาชนะและสารเคมีหกรั่วไหล หรือฟุ้งกระจาย
หรือแพร่กระจายไปยังบริเวณอื่น
5.4 การควบคุมการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมี
5.4.1 วิธีการเบิกและจ่ายสารเคมี ให้กำหนดโดยผู้รับผิดชอบของแต่ละแผนก
5.4.2 ทุกครั้งที่ทำงานกับสารเคมีจะต้องใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลตามที่กำหนด เพื่อป้องกันการสัมผัสกับสารเคมี
5.4.3 บริเวณที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีจะต้องมีการจัดทำระบบระบายอากาศ เช่น ระบบดูดควันและไอระเหย และตรวจสอบตามความถี่ที่กำหนด
5.4.4 พนักงานที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเบิกและจ่าย สารเคมี
จัดทำรายการบันทึกการเบิกและการจ่าย เกี่ยวกับการใช้สารเคมี
5.4.5 ผู้ที่ถูกมอบหมายหรือโยกย้ายมาปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมี ต้องได้รับการฝึกอบรมจนมั่นใจว่าปฏิบัติงานด้านสารเคมีอย่างถูกวิธีและปลอดภัย
เขียนต่อคราวหน้า
ตัวอย่างต่อไปของโปรแกรมพื้นฐานเกี่ยวกับการควบคุมใบมีดและด้ามกรรไกร รูปแบบสามารถเขียนได้หลากหลาย ทำเป็น Flow Chart หรือเขียนแบบบล๊อค หรือบรรยายก็ได้ แต่เนื้อหาหลักๆ เช่น
1วัตถุประสงค์ (Purpose)
เพื่อกำหนดวิธีการใช้งาน การควบคุมใบมีดและด้ามกรรไกร ไม่ให้แตก หัก บิ่น แล้วปะปนไปในผลิตภัณฑ์และให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้บริโภค
2 ขอบข่าย (Scope)
2 ขอบข่าย (Scope)
ครอบคลุมชนิดของใบมีดและกรรไกร ที่มีผู้ใช้จากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดนี้
3 นิยาม (Definition)
4 เอกสารอ้างอิง (Refer document)
5. ระเบียบปฏิบัติ
5.1 ผู้รับผิดชอบในพื้นที่ สำรวจและทำทะเบียนชนิดใบมีด ด้ามมีดและกรรไกร บันทึกในทะเบียนควบคุมใบมีด ด้ามมีด กรรไกร
5.2 ผู้รับผิดชอบในพื้นที่ ตรวจสอบจำนวนและความเรียบร้อยของใบมีด และด้ามมีด ก่อน/หลัง การปฏิบัติงาน บันทึกในรายงานการตรวจสอบ ใบมีด ด้ามมีด และกรรไกร กรณีมีความจำเป็นต้องนำใบมีด ด้ามมีด และกรรไกร ที่ไม่อยู่ในทะเบียนรายการ ให้ผู้ที่นำเข้าแจ้งให้ผู้รับผิดชอบทราบ
5.3 ผู้รับผิดชอบพื้นที่ ทำการตรวจสอบพร้อมบันทึกผลในรายงานการนำอุปกรณ์ทำด้วย ใบมีด ด้ามมีด และกรรไกรข้าบริเวณการผลิต
5.4 เมื่อพบว่าใบมีด ด้ามมีดและกรรไกร เกิดแตกหัก บิ่น หรือสึก ให้ปฏิบัติดังนี้
5.4.1 พนักงานต้องแจ้งให้ผู้รับผิดชอบในพื้นที่ ทราบทันที
5.4.2 ให้ผู้รับผิดชอบในพื้นที่ ดำเนินการแก้ไขพร้อมบันทึกผลการแก้ไขใน
รายงานการตรวจสอบ
5.4.3 ผู้รับผิดชอบในพื้นที่ รวบรวมใบมีด ด้ามมีด และกรรไกร ที่แตกหัก บิ่น หรือ
สึก ให้ส่งทำลายทุกสองสัปดาห์
|
เขียนต่อคราวหน้า