Blog ที่ 22: FMEA กับการนำมาประยุกต์ใช้งาน
ในอุตสาหกรรมอาหาร
ISO9001:2015, ISO13485:2016
ISO14001:2015, ISO45001:2018
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง
IATF16949:2016, ISO19011:2018 Internal Auditor
Control of Documented Information ทุก ISO
ผู้เข้าอบรมเข้าอบรมที่ผ่านเกณฑ์ KS ออก Training Certificate ให้ทุกท่าน
บริษัท เค เอส เนชั่น คอนซัลแตนท์ จำกัด
KS NATION CONSULTANT CO.,LTD.
เลขที่ 823/28 ถนนพรหมาสตร์ ตำบลบางปลาสร้อย
อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000
ติดต่อ K.NAT K.Sun Mobile: 081 3029339,
0832431855, 081 6493828
E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com,
isoiatf@hotmail.com
Line ID: iatf16949
In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
"นึกถึงไอโซ่ เซฟตี้ โทรหา"
081 3029339 ติดต่อ QMR & เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ
คุณภาพเป็นเลิศ ราคาพอเพียง ลูกค้าพึงพอใจ
823/28 ถนนพรหมาสตร์ อำเภอเมือง ชลบุรี
081 3029339, 081 6493828, 083 2431855
โทรสาร 02 7441859
Line ID: iatf16949
Line ID: iatf16949
ksnationconsultant@hotmail.com
isoiatf@hotmail.com
isoiatf@hotmail.com
หรือที่ isobible@gmail.com
ออกใบ Certificate ให้ผู้เข้าอบรมจริงทุกท่าน ค่าฝึกอบรมสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้
"as your require"
FMEA = Failure Mode
Effect Analysis
การวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบ
นอกจากใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์
ปัจจุบันนิยมมากขึ้นโดยนำมาประยุกต์ใช้งาน
ในอุตสาหกรรมอาหาร
ปัจจุบัน New FMEA โดย AIAG ร่วมมือ
กับ VDA
ในประเทศไทยคงจะเริ่มอบรมหรือเรียนรู้
New FMEA มีอะไรบ้าง
เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง
Effect Analysis
การวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบ
นอกจากใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์
ปัจจุบันนิยมมากขึ้นโดยนำมาประยุกต์ใช้งาน
ปัจจุบัน New FMEA โดย AIAG ร่วมมือ
กับ VDA
ในประเทศไทยคงจะเริ่มอบรมหรือเรียนรู้
New FMEA มีอะไรบ้าง
เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง
o เหตุผลการปรับเปลี่ยน
กำหนดโครงสร้างเดียวกัน
โดย AIAG และ VDA
กำหนดโครงสร้างเดียวกัน
โดย AIAG และ VDA
o New FMEA มี 7 ขั้นตอน ดังนี้
1 การวางแผน
Planning and Preparation
Planning and Preparation
2 วิเคราะห์เกี่ยวกับ
โครงสร้าง Structure
Analysis
โครงสร้าง Structure
Analysis
3 วิเคราะห์เกี่ยวกับฟังค์ชั่น Function
Analysis
Analysis
4 วิเคราะห์เกี่ยวกับความล้มเหลว
Failure Analysis
5 วิเคราะห์เกี่ยวกับความเสี่ยง Risk
Analysis
Analysis
6 ดำเนินการหรือการจัดการให้
เหมาะสม
Optimization
7 Result Documentation
โดยจัดทำ Action Priority
แทน RPN
ทุกขั้นตอน เตรียมปรับรูปแบบฟอร์ม เพื่อประยุกต์ใช้ New FMEAแทน RPN
คาดว่าปี 2019 โรงงานที่จะประยุกต์ใช้ FMEA คงเตรียมการอบรม New Core Tool นี้
VDA เยอรมัน ร่วมกับ AIAG
บางคนเรียก New AIAG VDA FMEA หรือ
New FMEA By AIAG & VDA
ยกเลิกการระบุ RPN ที่เคยทำแบบเดิม
มองว่าใช้งานแล้วไม่เหมาะสม ไม่ตอบโจทย์
ชีวิตโรงงานเราก็รู้กัน ตัวเลข RPN นั้นเบี่ยงๆกันได้
เริ่มใช้ AP (Action Priority) แทน มองว่าดีกว่า
ก็ต้องลองนำไปประยุกต์ใช้ และปฏิบัติจริง
มองว่าใช้งานแล้วไม่เหมาะสม ไม่ตอบโจทย์
ชีวิตโรงงานเราก็รู้กัน ตัวเลข RPN นั้นเบี่ยงๆกันได้
เริ่มใช้ AP (Action Priority) แทน มองว่าดีกว่า
ก็ต้องลองนำไปประยุกต์ใช้ และปฏิบัติจริง
AP ที่ว่า ปรับเป็น High, Medium, Low และ
เงื่อนไขคะแนนจาก 10-1 กับพิจารณาร่วมกับค่า O, D
แบบฟอร์มมีการปรับเปลี่ยนใหม่
โรงงานจะเริ่ม New FMEA By AIAG & VDA เมื่อไร
* ไปเริ่มที่ New Project
โรงงานจะเริ่ม New FMEA By AIAG & VDA เมื่อไร
* ไปเริ่มที่ New Project
* หรือบางครั้งลูกค้าขอให้ทำ FMEA
* ผู้เขียนมองว่า เผื่อไว้ให้เขียนระบุเงื่อนไขการเปลี่ยนถ่าย
โรงงานไปทบทวนและ Up date ที่ FMEA Manual
บางโรงงานนำเข้ามาจัดทำเป็น QP หรือ Procedure
ถือเป็นเอกสารระดับ 2 ในระบบโครงสร้างด้านเอกสาร
ยกตัวอย่าง 7 ขั้นตอนการทำ New AIAG VDA FMEA
ขั้นตอนที่ 1: Planning and Preparation
เขียนผัง หรือ Boundary Diagram: 2 ความคาดหวังคือ อยากได้ผลลัพท์ Output ออกมาอย่างถูกต้อง
3 ส่วนกระทบ Impact เช่น สิ่งแวดล้อม อะไรบ้างที่ทำให้มีผลกระทบ
4 Control Factors มีอะไรบ้าง ทีมงานให้ระดมความคิด (Brainstorm)
ขั้นตอนที่ 2: Structure Analysis
อาหารเป็นสินค้า (Product)
การทำ New FMEA:
ผู้ส่งมอบ (Supplier) จัดส่งสินค้า Deliver Product
พิจารณาในขั้นตอนนี้
* System
* Subsystem
* Component หรือส่วนประกอบ
Goal: ตั้งเป้าหรือกำหนดจุดหมายชัดเจน ทำการทบทวนถึงโครงสร้าง (Overview System Structure of Product)
ขั้นตอนที่ 3: Function Analysis
ดังนั้นในขั้นตอนนี้ ถ้าทำ New FMEA ให้พิจารณา
* ทำการทบทวน Product Function
* Customer Specification Requirements ตรงกับที่ต้องการ
* มองถึง Effect Relation
* คิดลึกๆทีมงาน ก็ Failure ความล้มเหลวจะโผล่หรือไม่ อย่างไร
ฟังค์ชั่นต้องได้ทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล
(Efficiency & Efectiveness)
ขั้นตอนที่ 4 Failure Analysis ของการทำ New FMEA:
นำสิ่งที่ระบุ (Identified) จากการวิเคราะห์ฟังค์ชั่นของขั้นตอนที่ 3 นำมาวิเคราะห์ถึงความล้มเหลวทั้ง
* Failure Effects
* Failure Mode เน้นลึกๆ Potential Failure Mode
* Failure Causes ทำมาให้ครบ จัดทำ List of Failure Causes
ความล้มเหลวที่หามา เริ่มต้องมองถึงค่า S ส่งผลกระทบ ก่อให้เกิดความรุนแรงเพียงใด
กำหนดเกณฑ์ค่า S: จากคะแนน 10 - 1
จะอธิบายต่อเนื่องหรือแทรกข้อมูลให้เข้าใจมากขึ้นต่อไป
ขั้นตอนที่ 5: Risk Analysis
โรงงานเคยทำทั้ง
Current Prevention
พิจารณาค่า O
Current Detection
พิจารณาค่า D
ตอนนี้มีการตั้งเกณฑ์ หรือ Criteria: S, O, D
เปลี่ยนจาก RPN ปรับเป็นค่า AP
กำหนดระดับ หรือ Level ในแบบฟอร์มจะมีคอลัมพ์ AP
เพื่อใช้พิจารณา High, Medium, Low
กำหนดระดับ หรือ Level ในแบบฟอร์มจะมีคอลัมพ์ AP
เพื่อใช้พิจารณา High, Medium, Low
ยกตัวอย่าง
AP Very High
AP Very High
ค่า S ช่วง 9-10 ค่า O ช่วง 6-10 ค่า D ช่วง 2-10
เมื่อพิจารณาค่า AP ตัดสินว่า Very High
เพราะว่า มองจากความไม่ปลอดภัยในผลิตภัณฑ์
ส่งผลกระทบกับข้อกำหนดของลูกค้า กฎหมาย
การให้น้ำหนักความสำคัญต้องเป็น Very High
AP High
ถ้าเป็น High ไม่ใช่ very High มองอย่างไร
ถ้าเป็น High ไม่ใช่ very High มองอย่างไร
ค่า S ยังช่วง 9-10 ค่า O ต่ำลงอยู่ช่วง 4-5
ค่า D ช่วงราวๆ 7-10
เมื่อพิจารณาค่า AP ตัดสินว่าเป็น High
เพราะว่า มองจากความไม่ปลอดภัยในผลิตภัณฑ์
ส่งผลกระทบกับข้อกำหนดของลูกค้า กฎหมายแล้ว
แต่โอกาสเกิด O เป็นปานกลาง Moderate Occ.
ค่า D บอกว่าตรวจจับพบก่อนเกิดปัญหากับลูกค้า
High Detection Rating
การให้น้ำหนักความสำคัญต้องเป็น High
AP เป็นระดับปานกลาง Medium มองอย่างไร
ค่า S อยู่ช่วง 5-8 ค่า O อยู่ช่วง 4-5
ค่า D ช่วงราวๆ 2-4 แสดงว่าการตรวจจับพบลดลง
เมื่อพิจารณาค่า AP ตัดสินว่าเป็น Medium
เพราะว่า มองจากความสูญเสีย Loss การลดหรือความเสื่อม
Degrade ในฟังค์ชั่นเกี่ยวกับพาหนะ (Vihicle Function)
หรือการส่งผลกระทบเกี่ยวกับการผลิต ทำให้ชลอและล่าช้า
(Manuufacturing Disruption)
แต่มองโอกาสเกิด O เป็นปานกลาง Moderate Occ.
ค่า D บอกว่าตรวจจับพบก่อนเกิดปัญหากับลูกค้า
แบบ Low Detection Rating
สรุปการให้น้ำหนักให้มองหลายๆมุมมอง
ดังนั้นความสำคัญให้เป็น AP ปานกลาง Medium
AP Low
เมื่อพิจารณาค่า AP ตัดสินว่าเป็น Low
เมื่อพิจารณาค่า AP ตัดสินว่าเป็น Low
เพราะว่า มองจากปัญหาความเสี่ยง ลักษณะข้อบกพร่องที่พบต่างๆ
หรือการส่งผลกระทบเกี่ยวกับการผลิต ทำให้ชลอและล่าช้า
(Manuufacturing Disruption) ควบคู่กับโอกาสเกิด O
เป็นปานกลาง Moderate Occurrence
เป็นปานกลาง Moderate Occurrence
ค่า D บอกว่าตรวจจับพบก่อนเกิดปัญหากับลูกค้า
แบบ Low Detection Rating
สรุปการให้น้ำหนักให้มองหลายๆมุมมองส่วนใหญ่พบค่าต่างๆว่าต่ำลง
ดังนั้นความสำคัญให้เป็น AP ที่ต่ำหรือ Low
แต่คะแนนมีพิจารณาหลายแบบ
รายละเอียดให้ศึกษาจาก New FMEA Manual
พิจารณาค่า S ให้เท่ากับ ?
ค่า O มีโอกาสเกิดจริง ?* ให้คิดถึงว่า ทำไม (Why) จึงพบความล้มเหลว (Failure)
แล้วผลลัพท์ส่งผลหรือสำคัญเพียงใด (Consequenc Effect)
ขั้นตอนที่ 6: Optimization
ค่าที่พิจารณาจากตารางมี H, M, Lถ้าให้ค่า AP เท่ากับ H = High
จากนั้นไปดำเนินการ ต้องสามารถสร้างความมั่นใจ
ลดความเสี่ยงและป้องกันได้อย่างมีประสิทธิผล
(Reduce Risk and Prevent Effectiveness) ต้องสามารถลด
ความล้มเหลวอย่างเหมาะสมกับสินค้าประเภทอาหาร
Step 7 Result Documentationจากนั้นให้ระบุ
* Preventive Action ให้ระบุแนวทางให้แข็งแรง ชัดเจน
* Detective Action สามารถตรวจจับได้
* Responsibilty Person ให้ระบุชื่อผู้รับผิดชอบ ใครบ้าง
* Target Date กำหนดวันชัดเจน เป็น Timing Task จะได้ไม่เลื่อนแล้วก็เลื่อนออกไปเรื่อยๆ ช่วยกันทำงานเป็นทีม (Team Work)
ลองศึกษาจากคู่มือ หรือทำการทบทวนคู่มือเดิมแล้วปรับปรุง
ทั้งระบุทั้ง Action Taken, Completely Date, อื่นๆ
จะพบว่าโรงงานผลิตอาหาร มีการนำ Core Tool คือ FMEA มาใช้งานมากขึ้น ลองค้นหาหรือสั่งซื้อ New FMEA First Edition by AIAG & VDA เอกสารมีลิขสิทธิ์ ในไทยมีตัวแทนจำหน่าย ราคาถูกกว่าสั่งซื้อจากต่างประเทศ ข่าวว่ามีแปลด้วย ลองติดต่อไป
In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
หลักสูตร FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
หลักสูตรบรรยายหนึ่งวันเต็ม บรรยาย DFMEA, FMEA-MSR และ PFMEA
สำหรับโรงงานที่มี Design พนักงานเข้าใหม่ วิศวกรใหม่ หรือผู้สนใจ
หหลักสูตรการประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019.
New FMEA By AIAG & VDA
AP แทนที่ RPN ติดตามที่ Blog 60 Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/
KS Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
ราคาพอเพียง ลูกค้าพึงพอใจ
โดยวิทยากรคุณภาพและประสบการณ์ด้าน ISO เป็นเวลาถึง 28 ปี
ผ่านงานทั้ง CB Auditor, QMR/EMR/OHSMR/
Food Safety Team Leader และงานจริงจากโรงงานต่างๆ
"as your require"
หลักสูตรต่างๆ ราคาพิเศษ หรือดูจากโบชัวร์ที่จัดส่งให้
หลักสูตรฝึกอบรม
FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
การประยุกต์ใช้ PFMEA in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
ข้อกำหนด การบริหารความเสี่ยง และผู้ตรวจติดตามภายใน
ข้อกำหนด การบริหารความเสี่ยง และผู้ตรวจติดตามภายใน
Requirements, Risk Management, Internal Auditor
ISO9001:2015 QMS
ISO14001:2015 EMS
IATF16949:2016 AQMS
Genius QMR/EMR/SMR
ISO45001:2018 OH&SMS
The Manager & Leadership
ISO/FSSC22000:2018 FSMS
GHP/BRC/HACCP/ ISO17025
7 Quality Management Principles
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง
Root Cause Analysis/ 5S/ Walk Rally
การคิดแบบมีตรรกะ (Logical Thinking)
ISO13485 Medical Device/ ISO22301 BCMs
ISO19011:2018 แนะนำแนวทางการตรวจประเมิน
Core Tools: APQP/ PPAP/ FMEA/ SPC/ MSA/ 8D
Genius Supervisory/ ISO & IATF16949 Awareness
Control of Documented Information for ISO/IATF16949
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Management of Change: MOC)
หลักสูตรอื่นๆออกแบบให้ตามที่ต้องการอบรม"as your require"
ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME
หรือรักษาระบบ ISO ชั่วคราว
มาตรฐานใหม่ฉบับนี้ประกาศใช้แล้วเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2018
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME
หรือรักษาระบบ ISO ชั่วคราว
สำหรับ ISO45001:2018 แตกต่างกับ OHSAS18001:2007
แต่ OHSAS18001:2007 ยังให้การรับรองได้จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2021 จะมีแต่ ISO45001:2018 เข้ามาแทนที่ สามารถคลิ๊กไปอ่านที่ link http://safetysolving.blogspot.com/
การอบรมภายในตระหนักถึงความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคล
ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
จึงขอแจ้งให้ทราบว่าจะมีนโยบายความเป็นส่วนตัวแจ้งให้ทราบทุกครั้ง
ที่ติดต่อเรื่องการอบรมภายในเพื่อแจ้ง KS Privacy Policy
กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com