วันพฤหัสบดีที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2555

Ready to Eat Product:Blog 9

Blog 9
บริษัท เค เอส เนชั่น คอนซัลแตนท์ จำกัด
KS NATION CONSULTANT CO.,LTD.
เลขที่ 823/28  ถนนพรหมาสตร์  ตำบลบางปลาสร้อย  อำเภอเมือง  จังหวัดชลบุรี  20000
ติดต่อ K.NAT K.Sun Mobile: 081 3029339, 0886560247, 083 2431855
E-Mail:  ksnationconsultant@hotmail.com, isoiatf@hotmail.com   
Line ID: iatf16949
ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME 
รักษาระบบ ISO แทนตำแหน่งที่รอสรรหา
"นึกถึงไอโซ่ โทรหา KS" 081 3029339, 088 6560247

ณ วันนี้ ระบบบริหารคุณภาพ ค่อนข้างจะนิ่ง ไม่เปลี่ยนแปลง
ISO9001:2015 ยังน่าจะใช้รับรองอีกสักระยะ ไม่ปรับเวอร์ชั้น
แต่ด้านความปลอดภัยกับด้านแรงงาน น่าจะมีความเข้มงวดขึ้น
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 PDPA: Personal Data Protection Act

วันที่ 10 มิถุนายน 2565 จะมีผลบังคับใช้ โรงงานที่มีพนักงาน
ตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป ต้องมีจัดทำมาตรฐานระบบการจัดการ
อาชีวอนามัย ความปลอดภัย....
ดังนั้นโรงงานที่ได้รับรอง ISO45001:2018 ถือว่า มีครบถ้วนแล้ว

โรงงานที่ต้องมี บุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย: บฉ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ.2551      มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2554 ช่วงนี้คนเข้าทดสอบมาก
โรงงานที่เข้าข่ายนี้ เข้าใจง่ายๆ คือ
1 มีวัตถุอันตราย 1,000,000 กิโลกรัมต่อปี ทั้งผลิต นำเข้า ส่งออก
2 พื้นที่จัดเก็บวัตถุอันตรายตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป
3 เข้าข่ายวัตถุไวไฟ สารออกซิไดซ์ และสารเปอร์ออกไซด์
แต่ถ้ามีใช้สารเคมีอันตรายตั้งแต่ 1,000 กิโลกรัมต่อปี
ต้องรายงานกรมโรงงานอุตสาหกรรมทุกสิ้นเดือนมีนาคมของทุกปี
เพิ่มจากที่ส่งรายงาน สอ.1  วัตถุอันตรายให้กระทรวงแรงงาน
ทุกสิ้นเดือนมกราคมของทุกปี

โรงงานที่ตั้งในนิคมอุตสาหกรรม ที่ใช้ก๊าซไวไฟหรือของเหลวไวไฟ
ที่มีปริมาณครอบครองตั้งแต่ 4,545 กิโลกรัม ต้องทำ 
PSMProcess Safety Management 
เพื่อความปลอดภัยจากไฟไหม้และเกิดการระเบิด
ถ้าทำระบบ ISO จะเข้าใจ มีทำ Internal Audit, Management Review
รวมถึงให้ External Auditor มาตรวจ ณ โรงงาน

In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019. 
หลักสูตรบรรยายหนึ่งวันเต็ม บรรยาย DFMEA, FMEA-MSR และ PFMEA 
     สำหรับโรงงานที่มี Design พนักงานเข้าใหม่ วิศวกรใหม่ หรือผู้สนใจ   
    การประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019. 
     New FMEA By AIAG & VDA
AP แทนที่ RPN ติดตามที่ Blog 60 Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/

สำหรับ ISO45001:2018 แตกต่างกับ OHSAS18001:2007 
มาตรฐานใหม่ฉบับนี้ประกาศใช้แล้วเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2018
แต่ OHSAS18001:2007 ยังให้การรับรองได้จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2021 จะมีแต่ ISO45001:2018 เข้ามาแทนที่ สามารถคลิ๊กไปอ่านที่ link   http://safetysolving.blogspot.com/

คุณภาพเป็นเลิศ  ราคาพอเพียง  ลูกค้าพึงพอใจ
823/28 ถนนพรหมาสตร์ อำเภอเมือง ชลบุรี    
081 3029339, 083 2431855 
โทรสาร 02 7441859
Line ID: iatf16949
ksnationconsultant@hotmail.com 
isoiatf@hotmail.com
หรือที่ isobible@gmail.com
ออกใบ Certificate ให้ผู้เข้าอบรมจริงทุกท่าน ค่าฝึกอบรมสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้
"as your require"
บทความ ISO9001&IATF16949/TQM/Six Sigma สามารถคลิ๊ค
บทความ GMP/HACCP/FSMS  link:  http://qualitysolving.blogspot.com/
บทความ EMS/OH&S /SA8000  link: http://safetysolving.blogspot.com/
Check List ISO ทุกระบบ link:  http://Mcqmrtraining-Mcqmr.blogspot.com/
สำหรับโรงงานที่ต้องการควบคุมและกำจัดสัตว์รบกวนและสัตว์พาหะ ทั้งแมลง ปลวก นก หนูต่างๆ
สามารถติดต่องาน Pest Control โดย Click:   http://www.nanoherb.com
กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com ฟรี 

อบรมภายในราคาพิเศษ:
หลักสูตร Logical Thinking คิดแบบมีตรรกะ อบรมหนึ่งวัน 
ISO9001:2015 New Version และ IATF16949:2016 
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO9001:2015 New version    
หลักสูตร Risk Management of ISO9001:2015
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO9001:2015
EMS ISO14001:2015 New Version
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO14001:2015 New Version    
หลักสูตร Risk Management of ISO14001:2015 
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO14001:2015
OH&S ISO45001:2018
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO45001:2018 New Standard    
หลักสูตร Risk Management of ISO45001:2018
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO45001:2018


ในเมืองกับอาหารพร้อมรับประทาน ต่างจากวิถีธรรมชาติ
เลี้ยงไก่ ปลูกผัก เลี้ยงปลา

สภาพหน้าสนามบินภูเก็ต ดูแล้วแตกต่างจากภาพบนคนละวิถีชีวิต

Blog ที่ 9: 

ผู้เขียนไปนั่งฟังการสัมมนาในหัวข้อ Managing Food Safety on Thai "RTE" Products

จัดโดยสถาบันอาหาร (NFI: National Food Institue) และ European Union (EU) อุตสาหกรรมอาหารบ้านเราส่งออกมาก เป็นลำดับสิบสองของโลก อาหารประเภท ปลาทูน่า ผลิตภัณฑ์ไก่ และผลิตภัณฑ์จากกุ้ง (ไม่ใช่น้องกุ้ง) ส่งออกมากในสามอันดับแรก ตลาดส่วนใหญ่ยังเป็นยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ผู้เขียนจึงขอนำมาเล่าสู่กันฟังและนำเนื้อหาการสัมมนามาอ้างอิงในการเขียนบทความเพื่อความรู้ทั่วไปผสมผสานด้านวิชาการบ้าง และรณรงค์เรื่องอาหารที่ต้องปลอดภัย เน้น Safe Food โดยมี ดร.อมร งามมงคลรัตน์ เป็นวิทยากร ผู้เขียนเคยพบกับ ดร.อมร เมื่อ 12 ปีที่แล้ว ตอนนั้นสถาบันอาหารยังตั้งอยู่ที่ถนนศรีอยุธยา ได้พบท่านในงานสัมมนานี้ ตั้งใจว่าจะเข้าไปกราบสวัสดี แต่เห็นมีแขก สุดท้ายเลยไม่ได้พบ

ผู้เขียนขอเล่าให้ฟังต่อ คำว่า "อาหารพร้อมดื่ม" คือสามารถบริโภคได้ทันที เปิดแพ๊ค หรือฉีกฝาหรือถุงที่ใส่บรรจุ สามารถดื่มหรือรับประทานได้ทันทีโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการฆ่าเชื้อหรือนำไปปรุงอีกครั้ง (Not Heat) หมายถึง รับประทานได้ทันที ไม่ต้อง Cooking หรือ Reheating

อาหารที่ผลิตออกมาต้องปลอดภัยต่อผู้บริโภค ด้าน Food Safety จะมีมาตรการที่ต้องป้องกัน (Prevention) หรือกำจัด (Elimination) หรือลดให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (Reduction: Reduce in Acceptable Level) หากผู้ส่งออกอุตสาหกรรมอาหาร จะพบคำว่า GFSI (Global Food Safety Initiative) ก่อตั้งเมื่อปี 2000 โดย The Consumer Goods Forum จุดประสงค์เพื่ออาหารที่มีความปลอดภัยสำหรับผู้บริโภคทุกแห่ง (Safe Food For Consumers Everywhare) มีมาตรฐานมารองรับและขอรับรอง รวมหลายระบบและวิธีการที่นำมาปฎิบัติตั้งแต่ ISO9001, HACCP Principles, PRPs, ISO22000, BRC, IFS อื่นๆ

ต่อมา GFSI ระบุถึงการนำมาตรฐานมาใช้มีทั้ง FSSC 22000, SQF 2000 Level2 (USA), Global GAP, Global Red Meat Standard Version3 (Denish) ผู้เขียนมองว่าในอนาคตผู้ประกอบการต้องพัฒนาและติดตามให้ทันทุกมาตรฐาน กฎเกณฑ์ และกฎหมายของลูกค้าแต่ละประเทศที่นำเข้าสินค้าจากเราไป หลักการของ HACCP นับว่าเป็นที่ยอมรับในทุกๆมาตรฐานที่อ้างอิงถึง รวมทั้งลูกค้าส่วนใหญ่หรือแทบจะทุกแห่งให้การยอมรับ

หลักการของ HACCP มีดังนี้
(Hazard Analysis and Critical Control Points Principles)
HACCP หมายถึง A system which identifies, evaluates and controls hazards which are significant for food safety

HACCP มี 7 Principles ดังนี้
หลักการที่ 1 ให้ทำการวิเคราะห์อันตราย ชี้บ่งอันตราย

หลักการที่ 2 หาจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมหรือ CCP กำหนดจุดควบคุม หรือ CCP 
หลักการที่ 3 กำหนดค่าวิกฤต หรือ CL  กำหนดค่า Critical Limited (CL) :ซึ่งต้องมั่นใจว่าสามาถค่า 
   CCP อยู่ภายใต้การควบคุมได้   หมายความว่า ต้องควบคุมค่าวิกฤตได้ ไม่ให้ออกนอกค่าที่กำหนด  
   หากพบว่าค่าเกินลิมิต (Exceed Limited) ต้องมีมาตรการควบคุมแก้ไขต่อไป ให้กลับมาควบคุมใหม่
  ได้ ศึกษาใน ISO22000:2005  มีกำหนดสิ่งที่โรงงานต้องปฎิบัติเช่นไร ให้เกิด Food safety และ
  ผลิตภัณฑ์อาหารต้อง Safe Food
หลักการที่ 4 กำหนดวิธีการตรวจเผ้าระวัง (Monitoring) เพื่อควบคุมจุดวิกฤต
หลักการที่ 5 กำหนดวิธีการแก้ไข เมื่อพบว่าจุดที่ต้องควบคุมไม่อยู่ภายใต้การควบคุม
หลักการที่ 6 กำหนดวิธีการทวนสอบเพื่อยืนยันประสิทธิผลของการปฎิบัติงาน
หลักการที่ 7 กำหนดวิธีการจัดเก็บเอกสารที่เกี่ยวข้อง หมายถึงจัดทำระบบการควบคุมเอกสารและบันทึก

จากข้อมูลการสัมมนาและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ขอนำมาลงให้บางท่านที่ไม่ได้ไปสัมมนาทราบดังนี้
คำว่า Ready to Eat Product หมายความ Means food (product) intended by the producer or the manufacturer for direct human consumption without  the need for cooking or other processing effective to reduce to an acceptable level or eliminate microorganisms of concern.รายละเอียดและความรู้ทางวิชาการลองเข้าไปที่ Web ของ nfi หรือของสถาบันอาหาร

การสัมมนาครั้งนี้ วิทยากรจะเน้น Food Safety Management Systems กล่าวถึงคำว่า 
1 Validation
2 Risk Assessment
3 Root Cause Analysis

และทุกครั้งที่ทำ HACCP แล้วมีสาระสำคัญเปลี่ยนไป โดยมีผลกระทบต่อระบบหรือ HACCP Plans
ให้ดำเนินการ 3 อย่าง คือ
1 Re-Validation
2 Re-Verification
3 Review

ความหมายของคำว่า Validation ของ Codex เขียนไว้ว่า
* Critical Limits must be specified and validated for each CCP
* Validation activities should include action to confirm the efficacy of all elements of the HACCP system 
* Validation หมายถึง Obtaining evidence that the elements of the HACCP plan are effective
* Verification

เขียนต่อคราวหน้า

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น